เมนู

4. อนันตรปัจจัย


[2151] 1. อัชฌัตตารัมมณรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
[2152] 2. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ จุติจิตที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น
พหิทธารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังค์ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นพหิท-
ธารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น
พหิทธารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลมที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน,
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ,
เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล-
สมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[2153] 3. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
อนุโลมที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน,
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค,
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค,
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล,
ผล เป็นปัจจัยแก่ผล,
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[2154] 4. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังค์ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

5. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ 8. นิสสยปัจจัย


[2155] 1. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย


9. อุปนิสสยปัจจัย


1. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตา-
นุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุ-
ปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[2156] 2. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตา-
นุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม แก่ทุกขานุ-
ปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.